ขอแสดงความยินดีกับ ศาสตราจารย์ ดร. ละออศรี เสนาะเมือง ในโอกาสเข้ารับพระราชทานโล่รางวัล นักวิทยาศาสตร์อาวุโส ประจำปี 2560

เผยแพร่เมื่อ: 19 ต.ค. 2560 ข่าวบุคลากร



                คณะวิทยาศาสตร์ ขอแสดงความยินดีกับ ศาสตราจารย์ ดร. ละออศรี  เสนาะเมือง ในโอกาสเข้ารับพระราชทานโล่รางวัล นักวิทยาศาสตร์อาวุโส  จากสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย  ในพระบรมราชูปถัมป์  ประจำปี  2560  จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี  ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43 (วทท. 43) The 43rd Congress on Science and Technology of Thailand (STT 43) ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 17- 19 ตุลาคม  2560  ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์  มหาวิทยาลัย

ประวัติและผลงาน

ศาสตราจารย์ ดร. ละออศรี  เสนาะเมือง

Professor Dr. La-orsri Sanoamuang

ประวัติและผลงานในการทำงานที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น

 

1. ประวัติการศึกษา

วท.บ. (ชีววิทยา) 2516-2520 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย

วท.ม. (ชีววิทยาทางทะเล) 2522-2524 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย

Cert. in Limnology 2528 (9 เดือน) Austrian Academy of Sciences &University of Vienna,

Austria

Ph.D. (Zoology) 2531-2535 University of Canterbury, New Zealand

Cert. in Freshwater 2536 (6 เดือน) State University of Ghent, Belgium Zooplankton

 

2. ประวัติการทำงาน

เริ่มรับราชการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2520 ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.)

2520-2525 ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มข.

2526-2538 ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มข.

2539-2546 ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มข.

2547-ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ 10 ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มข.

 

สรุปตำแหน่งบริหารที่สำคัญ

2529-2531 ผู้ช่วยเลขานุการภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2537-2537 เลขานุการภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2537-2539 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2540-2541 รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2542-2543 รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา ฝ่ายวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2543-2547 หัวหน้าภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2548-2552 คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2550-2552 ประธานที่ประชุมคณบดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย

2545-ปัจจุบัน ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยอนุกรมวิธานประยุกต์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2553-2556 คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2556 - ปัจจุบัน คณบดีวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

 

ผลงานวิจัยที่ลงตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ เช่น

1. Sanoamuang, L. & Rojanaburanon, T. 1982. Zooplankton in the Tha Chin

Estuary. Proceedings of the Second National Seminar on Marine Science, National Research

Council of Thailand. 428-442.

2. Sanoamuang, L. & Schaber, P. 1986. The summer situation of rotifers in a small

eutrophicated Tyrolean lake (Schawardzsee bei Kitzbuhel), Austria. Journal of Science, Khon

Kaen University 14: 175-184.

3. ประนอม จันทรโณทัย, ละออศรี เสนาะเมือง และพาณี วรรณนิธิกุล 2532. พืชและสัตว์ในเขต

เมืองขอนแก่น ตอนที่ 1: แพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 17(2): 164-175.

4. ละออศรี  เสนาะเมือง. 2541ก. ไรน้ำนางฟ้าสิรินธร. วารสารวิจัย มข. 3 (2): 1-6.

5. ละออศรี เสนาะเมือง. 2541ข. ไรน้ำนางฟ้าสิรินธร…ไรน้ำพันธุ์ใหม่ของโลก. วารสารสถาบัน

อาหาร 2(7): 46-47.

6. ละออศรี เสนาะเมือง. 2544. ความหลากหลายของแพลงก์ตอนสัตว์น้ำจืดในประเทศไทย. ใน:

รายงานการวิจัยในโครงการ BRT 2544, วิสุทธิ์ ใบไม้ และรังสิมา คุ้มหอม (บรรณาธิการ). หน้า 1-16. จัดพิมพ์

โดยโครงการ BRT. บริษัทจิรวัฒน์ เอ็กซ์เพรส จำกัด กรุงเทพฯ

 

ผลงานวิจัยที่ลงตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ เช่น

1. Sanoamuang, L. 1993. The effect of temperature on morphology, life history, and

growth rate of Filinia terminalis (Plate) and Filinia cf.pejleri Hutchinson in

culture. Freshwater Biology 30: 257-267.

2. Sanoamuang, L. 1993. Comparative studies on scanning electron microscopy of

trophi of the genus Filinia Bory De St. Vincent (Rotifera). Hydrobiologia 264: 115-128.

3. Sanoamuang, L. & J. C. McKenzie, 1993. A simplified method for preparing rotifer

trophi for scanning electron microscopy. Hydrobiologia 250: 91-95.

4. Shiel, R. J. & L. Sanoamuang, 1993. Trans-Tasman variation in

Australasian Filinia populations. Hydrobiologia 255/256: 455-462.

5. Sanoamuang, L. & V. M. Stout, 1993. New records of rotifers from the South Island

lakes, New Zealand. Hydrobiologia 255/256: 481-490.

6. Segers, H. & L. Sanoamuang, 1994. Two more new species of Lecane (Rotifera,

Monogononta) from Thailand. Belgian Journal of Zoology 124: 39-46.

 

อนุสิทธิบัตร/ลิขสิทธิ์

1. ละออศรี เสนาะเมือง และนุกูล แสงพันธุ์. 2547. “กรรมวิธีการเตรียมไข่ไรน้ำนางฟ้าไทยพร้อม

ฟัก” อนุสิทธิบัตรเลขที่ 0403001426, วันอนุมัติคำขอ 29 เมษายน 2548

2. ละออศรี เสนาะเมือง และโฆษิต ศรีภูธร. 2551. “ระบบการเลี้ยงและเก็บไข่ไรน้ำนางฟ้าแบบ

ครบวงจร” อนุสิทธิบัตรเลขที่ 0603000182, วันขอรับอนุสิทธิบัตร 3 กุมภาพันธ์ 2549, วันอนุมัติคำขอ 10

ตุลาคม 2551

3. ละออศรี เสนาะเมือง และโฆษิต ศรีภูธร 2549. โสตทัศนวัสดุเรื่อง “เส้นทางลัดสู่ความสำเร็จ :

เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงไรน้ำนางฟ้า” ลิขสิทธิ์บัตรเลขที่ 118988, ได้รับอนุมัติคำขอวันที่ 1

มีนาคม 2549

4. ละออศรี เสนาะเมือง และนุกูล แสงพันธุ์. 2549. ประเภทงานวรรณกรรม/สิ่งพิมพ์เรื่อง “การ

เพาะเลี้ยงไรน้ำนางฟ้า” ลิขสิทธิ์เลขที่ 120328 ได้รับอนุมัติคำขอวันที่ 22 มีนาคม 2549

5. ละออศรี เสนาะเมือง. 2549. ประเภทงานวรรณกรรม/สิ่งพิมพ์เรื่อง “ไรน้ำนางฟ้า: จิ๋วแต่แจ๋ว”

ลิขสิทธิ์เลขที่ 145422 ได้รับอนุมัติคำขอวันที่ 9 ตุลาคม 2549

 

มีผลงานการเป็นบรรณาธิการรับเชิญของวารสารระดับนานาชาติ  ได้แก่

1. Sanoamuang, L., H. Segers, R. J. Shiel & R. D. Gulati (editors). 2001. Rotifera IX,

Proceedings of the IXth International Rotifer Symposium. Hydrobiologia, Kluwer Academic  Publishers 446/447: 1-395.

 

ขอขอบคุณภาพจาก/สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์

ข่าว/ สุขทวี คลังตระกูล